ทดลองใช้งานฟรี
ปัญหาที่เกิดจากการวางแผนบัญชีผิดของธุรกิจ SMEs (วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม) นั้นสามารถส่งผลกระทบรุนแรงทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยสรุปได้ดังนี้
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย คือ เรื่องพื้นฐานแต่สำคัญสุดๆ สำหรับนักบัญชี โดยเฉพาะคนทำบัญชีธุรกิจขนาดเล็ก-กลาง หรือแม้แต่ฟรีแลนซ์ที่มีการจ่ายเงินค่าจ้าง
นักบัญชีน่าจะได้รับคำถามจากเจ้าของธุรกิจบ่อยๆ ว่าควรจดทะเบียน VAT หรือไม่? จดแล้วต้องทำอย่างไร หรือว่ามีเรื่องอะไรที่แตกต่างจากการไม่จด VAT บ้าง
ทุกๆ ปีของการนำส่งงบการเงิน เมื่อพูดถึงเรื่องการยื่นงบการเงิน นักบัญชีก็ต้องนึกถึงการยื่น บอจ.5 ควบคู่มาด้วย แล้วก็จะมีคำถามต่อว่า แล้ว บอจ.5 คืออะไร ต้องยื่นทำไม ในการทำธุรกิจในรูปแบบของนิติบุคคล ก็จะมีผู้ถือหุ้นหลายคน แล้วแต่ว่าแต่ละกิจการจะตกลงกัน ซึ่งการยื่นบอจ.5 ก็เป็นเหมือนการยืนยันในทุกๆ ปีว่า รายชื่อผู้ถือหุ้นปัจจุบันนี้ คือใครบ้าง แล้วสัดส่วนหุ้นคนละเท่าไหร่ ก็เลยมีความจำเป็นที่จะต้องนำส่งข้อมูลในทุกๆ ปี เราไปดูรายละเอียดกันค่ะ
สำหรับ "บริษัทจำกัด" ที่มีวันสิ้นรอบปีบัญชี คือ 31 ธันวาคม 2567 จะต้องปิดงบการเงิน ยื่นงบการเงิน และยื่นภาษีบริษัทประจำปี ภายในวันสุดท้ายดังนี้
การทำธุรกิจกับการจ่ายภาษีนั้นถือเป็นของคู่กัน โดยภาษีสำหรับธุรกิจนั้น จะมีหลากหลายประเภทกว่าภาษีรายได้บุคคลธรรมดาทั่วไป จึงเป็นเรื่องจำเป็นอย่างมากที่เจ้าของกิจการต้องทำความเข้าใจให้ดี เพื่อให้การเสียภาษีนั้นเป็นไปอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และลดปัญหาที่จะโดนเรียกภาษีย้อนหลัง
“การวางแผนภาษี” คือ การวางแผนว่าจะทำยังไงให้เราเสียภาษีน้อยที่สุดโดยที่เรายังทำตามกฎหมายอย่างถูกต้องทุกประการ
หน้าที่ที่คนทำงานทุกคนเจอไม่ว่าจะทำอาชีพอะไรก็ตามคงไม่พ้นเรื่องของการยื่นภาษีที่เราต้องยื่นกันทุกปี เราลองมาสำรวจดูว่ามีข้อผิดพลาดไหนบ้าง ที่ส่วนใหญ่คนทั่วไปเผลอทำกัน เพื่อที่ว่าจะได้เข้าใจเรื่องภาษีอย่างครบถ้วนมากขึ้น และวางแผนยื่นภาษีกันให้ถูกต้อง สบายใจไร้กังวล